หน้าแรก... ตำนานวัดประดู่ หลวงพ่อใหญ่ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประวัติ พระครูพิศาลจริยาภิรม (พระมหาสุรศักดิ์ อติสกฺโข) ไหว้พระ/ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด   ติดต่อเราและแผนที่

ประวัติ พระครูพิศาลจริยาภิรม (พระมหาสุรศักดิ์ อติสกฺโข)

   ตำนานวัดประดู่ พระอารามหลวง
   หลวงพ่อใหญ่ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์
   หลวงปู่แจ้ง  ปุณยจนฺโท
   ประวัติเจ้าอาวาส (พระมหาสุรศักดิ์ฯ)  
   สำนักเขาพระพุทธบาท (ราชบุรี)
   ธรรมะจากหลวงพ่อพระมหาสุรศักดิ์
   หัตถประติมากรรม " หุ่นดินสอพอง "
   พญาฉัททันต์ โพธิสัตว์
   CD เพลงชุด รวยแน่นๆ
   เว็บไซต์ www.watpradoo.com
   ติดต่อเราและแผนที่ / Facebook

   พระราชประวัติเสด็จประพาสต้น
   พิพิธภัณฑ์สมเด็จพระสังฆราชฯ
   ศาลาเก๋งเรือ รัชกาลที่ 5
   พิพิธภัณฑ์เครื่องราชศรัทธา รัชกาลที่ 5
   ภาพวาดจิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ 2
   ศูนย์สาธิตศิลปะการทำหัวโขน/เศียรครู
   ไหว้พระขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด

   ตะกรุดต่างๆ ของวัดประดู่ฯ
      มหาระงับปราบหงสา
      พระพุทธเจ้าตรึงไตรภพ
      มงกุฏพรหม         พิสมรใบลาน
      มหาปราบ            โภคทรัพย
      โสฬสมงคล         ตะกรุด 8 ดอก
      ลูกอม(โลกธาตุ)   จันทร์เพ็ญ
      ตาลยอดเหี้ยน       สาริกา    
      วัวกินนมเสือ  หนูกินนมแมว
      ดาวล้อมเดือน       ตะกรุดอื่นๆ
   พระกริ่งหลวงพ่อใหญ่ วัดประดู่ฯ
   พระกริ่ง รุ่น ธรรมราชา
   พระกริ่งโสฬสมงคล-พระกริ่งอติสกฺโข
   พระกริ่งโภคทรัพย์-พระกริ่งโลกธาตุ
   เหรียญเลื่อนสมณศักดิ์ (หลวงพ่อใหญ่)

   พระพรหม-พระวิษณุกรรม-พระพิราพ

   พระพิฆเนศ พระมหาสุรศักดิ์ฯ
   พระสังกัจจายน์ พระมหาสุรศักดิ์ฯ
   พระสิวลี มหาลาภ และรุ่นอื่นๆ
   เหรียญบรมครูพ่อแก่
   เหรียญที่ระลึกสำนักเขาพระพุทธบาท
   วัตถุมงคลหลวงปู่ทวด วัดประดู่ฯ
   เหรียญหลวงปู่แจ้ง และเหรียญอื่นๆ
   รูปเหมือนพระบูชาหลวงปู่แจ้งฯ
   เหรียญรูปเหมือนรุ่นแรก
   เหรียญรูปเหมือน รุ่น สันติสุข
   เหรียญรูปเหมือนหันข้าง รุ่น เศรษฐี
   เหรียญหล่อรูปเหมือนรุ่นแรก
   เหรียญฟาต้าไฉ ่(รวยแน่นแน่น)
   รูปหล่อปั๊มรุ่นแรก พระมหาสุรศักดิ์ฯ
   รูปหล่อพระบูชารูปเหมือน 12 นิ้ว
   พระสมเด็จหล่อโภคทรัพย์ / ซุ้มประตู
   พระผงเปิดตาแจ่มแจ้ง รุ่น รวยกับรวย
   พระโคอุศภราช พระมหาสุรศักดิ์ฯ ปี 52
   พระผงขุนแผน พระมหาสุรศักดิ์ฯ
   พระสมเด็จ / พระเนื้อผงพิมพ์ต่างๆ
   ล็อกเก็ต / รูปภาพ / ผ้ายันต์
   เบี้ยแก้ / พ่อขุนทะเล พระมหาสุรศักดิ์ฯ
   เข็มขัดตะขาบไฟฯ / เครื่องรางอื่นๆ
   วัตถุมงคลเพิ่มเติมอื่นๆ 

   VCD ตำนานวัดประดู่ฯ 
   บวร (บ้าน วัด โรงเรียน)
   ศาลาเก่าภาพวาดจิตรกรรมวัดประดู่ฯ
   หอศิลป์ วัดประดู่ฯ
   มัคคุเทศก์น้อย วัดประดู่ฯ
 

 

ตะกรุดมหาระงับปราบหงสา ยุคต้น

                     ตะกรุดถือเป็นเครื่องรางของขลังชนิดหนึ่ง ที่ผูกพันกับคติความเชื่อของคนไทยมาช้านาน โดยมีความเชื่อที่ว่าตะกรุดสามารถคุ้มครองผู้ครอบครอง หรือสร้างความมีเสน่ห์เมตตาให้แก่ผู้มาพบเห็นได้ ซึ่งตะกรุดโดยทั่วไปแล้วมักทำด้วยโลหะบ้าง อโลหะบ้าง เช่น แผ่นตะกั่ว แผ่นเงิน แผ่นทอง หรือทองแดง บางครั้งก็ใช้ไม้ไผ่ หรือกระดูกสัตว์ก็มี เมื่อได้วัสดุตามต้องการแล้วก็จะทำการลงอักขระโดยใช้เหล็กจารเขียนอักขระพระคาถามงคล หรือผูกเป็นยันต์ตามแต่ตามต้องการ


ตะกรุดมหาระงับปราบหงสา ขนาดความยาว 7 นิ้ว

                    ตะกรุดมหาระงับปราบหงสา มีประวัติเกิดขึ้นชัดเจนที่สุดในสมัยอยุธยา เพราะเป็นเครื่องรางของขลังประจำพระวรกายขององค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในการออกทำศึกรบกับพม่าโดยทำยุทธหัตถี ชนะพระมหาอุปราชา (มังสามเกียด) จึงทำให้ทหารพม่าแพ้พ่ายแตกทัพไป ซึ่งด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้คนส่วนใหญ่เรียกว่าตะกรุดมหาระงับปราบหงสา หรือตะกรุดนเรศวรปราบหงสา สืบต่อมาจนทุกวันนี้ ตะกรุดมหาระงับปราบหงสามีวิธีการสร้างอย่างละะเอียดอ่อน และจะต้องเป็นขั้นเป็นตอน โดยเริ่มจากการจารอักขระเลขยันต์หรือที่เรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่าการเดินยันต์นั่นเอง กานเดินยันต์นั้นก็ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะการเดินยันต์หนึ่งตัวก็ต้องบริกรรมคาถาไปด้วยหนึ่งจบ โดยบทบริกรรมคาถา ส่วนใหญ่จะเป็นบทสรรเสริญพุทธคุณ สำหรับตัวยันต์มหาระงับนั้น จะมีเอกลักษณ์เฉพาะโดยเป็นเหมือนแผนผังกั้นเป็นห้องๆ ซ้อนกันล้อมด้วยพระคาถามหาระงับ พระคาถาบารมี 30 ทัศ และอิติปิโส 8 ทิศ เป็นต้น เมื่อลงอักขระเลขยันต์ เสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะม้วนให้เป็นแท่งกลม โดยมีช่องว่างตรงกลางไว้สำหรับร้อยเชือกเมื่อม้วนเสร็จแล้วก็ต้องพอกด้วยว่านยาคือ ใบไม่รู้นอน 7 ชนิด ประกอบด้วย ใบระงับ ,ใบผักกะเฉด ,ใบกระทืบยอด ,ใบชุมเห็ดเทศ ,ใบหญ้าใต้ใบ ,ใบแคขาว ,ใบสมี เมื่อได้ครบทั้ง 7 อย่าง อย่างละเท่าๆ กัน นำไปสุมไฟให้ใหม้แต่อย่าให้เป็นขี้เถ้า หรือนำไปตากให้แห้ง จากนั้นนำมาบดให้ระเอียดจึงนำไปกวนกับน้ำรัก หรือชันยางเรือ ทำเป็นสมุกพอกตะกรุด หลังจากพอกยาเสร็จแล้วก็เอาไปตากให้แห้ง จากนั้นใช้เชือกหรือด้ายดิบถักทับแล้วจึงลงรักปิดทองเพื่อรักษาตะกรุดไว้อีกชั้นหนึ่ง ในการปลุกเสกนั้นก็ต้องปลุกเสกให้จนมั่นใจว่าเป็นมหาระงับ มหาปราบ โดยชนิดที่ว่าจะต้องปลุกเสกจนสามารถสะกดและระงับให้บริเวณนั้นเงียบสงบแบบไม่มีเสียงใดๆ ให้ได้ยินเลยนั่นแหละถึงจะเป็นการปลุกเสกที่สมบูรณ์ที่สุด

ตะกรุดมหาระงับปราบหงสา มีอานุภาพชัดเจนในด้านระงับดับภัย โชคร้ายกลายเป็นดี ,ทางคงกะพัน มหาอุด ,ระงับดับทุกข์โศก หรือเรื่องร้ายๆ

คาถาบูชา ตะกรุดมหาระงับปราบหงสา

โอมมหาระงับ  หลับสิ้นทั้งบ้าน   โอมชิดมหาชิด   โอมปิดมหาปิด   สิทธิสวาหับ   นะปิดตา   โมปิดใจ   พุทธปิดปาก   ธาปิดหู
ยะหลับนิ่งอยู่   อิติปาระมิตาติงสา   ระงับอินทรา   อิติสัพพัญญมาคะตา   ระงับพรหมา   อิติโพธิมะนุปปัตโต
ระงับมะนุสสา   อิติปิโสจะเตนะโม   ระงับปีศาจ   อิระชาคะตะระสา   ติหังจะะโตโรถินัง   ปิสัมวะโลปุสัตพุท
โสมาณะกะริถาโท   ภะสัมสัมวิสะเทภะ    คะพุทปันทูทัมวะคะ   วาโนอะมะมะวา   อะวิสุนุสานุติ   นะโมพุทธายะ
ยะธาพุทโมนะ   ปะระมังภะคะวา   มะอะอุ   ภะคะวา   นะมะพะทะ   จะพะกะสะ

 

ตะกรุดมหาระงับปราบหงษาชุดทูลเกล้า

 

ตะกรุดมหาระงับปราบหงษาเนื้อเงิน

ตะกรุดมหาระงับปราบหงษายุคแรก เนื้อเงิน

 

ตะกรุดมหาระงับปราบหงษา + ตะกรุดลูกอมโลกธาตุ 3 กษัตริย์บรรจุในกล่องไม้

 

 

:: ขอขอบคุณ คณะศิษย์วัดประดู่ ทุกท่าน...ที่เอื้อเฟื้อข้อมูล :: Web Design Factory